10 มกราคม 2558

Notes : Relative Strength Index (RSI)

ดัชนีชีวัดความเเข็งแกร่งของตลาด
Relative Strength Index(RSI)

ที่มา


--------------------------------------------------------------------------
วัตถุประสงค์
       หนึ่งในปัญหาในการวิเคราะห์ราคา(Analyzing Price) คือ ในบางครั้งราคาตลาดมีความชัดเจน บางครั้งตลาดไม่ชัดเจน แปรผัน มาจากสภาวะที่ตลาดมี ความแข็งแรง/อ่อนแรง โดยได้รับผลกระทบมาจากสภาวะโดยรวมของตลาด ทั้งภายใน และ ภายนอก ที่ส่งผลกระทบมาถึงตัวนักลงทุน

       ค่าความเเข็งแกร่ง(Relative Strength) คำนวณจากราคาเฉลี่ยนการปิดในช่วงเวลาที่กำหนด(ที่กำหนดเป็น 14 วัน) และ คำนวณราคาเฉลี่ยในช่วงเวลาปัจจุบัน

       โดยปกติจะใช้ค่า RSI 14 วัน ส่วนค่าจะมาก หรือ น้อย ขึ้นอยู่กับความไวยของดัชนี ตามที่ต้องการได้ ซึ่งทั้งนี้ สามารถปรับจูนตาม Time Frame ที่ผู้ใช้งานเล่นได้ เช่น ตลาดมีความผันผวนสูงมาก สามารปรับให้ ค่า RSI ไวยขึ้นอาจจะเป็น "RSI 7" หรือ ตลาดผันผวนปกติใช้ "RSI 14" เพียงพอ
ปล. ยิ่งค่า RSI ไวยมากเท่าไหร่ Fail Signal มักจะเยอะตามไปด้วยเป็นเรื่องปกติ

       โดยการพล็อค RSI Index 0 - 100, โดยระบุว่า ถ้า RSI สูงกว่า 70 คือ Overbought ที่บอกว่ามีปริมาณการซื้อขายมากเกินไปมักเกิดในช่วงที่ตลาด Bullish มากๆ และจำไปสู่การชะลอตัวลดลง และ ถ้า RSI ต่ำกว่า 30 คือ Oversold ที่บอกว่ามีปริมาณการขายมากเกินไป มักเกิดในช่วงที่ตลาด Bearish มากๆ เมื่อการขายจบลง ก็จะปรับตัวสูงขึ้น วนไปวนมาแบบนี้
--------------------------------------------------------------------------
ข้อดี/ข้อเสีย



                                --------------------------------------------------------------------------
การนำไปใช้
Overbought / Oversold.

Bullish / Bearish Divergence.







                                --------------------------------------------------------------------------
Ref : http://www.traderplanet.com/tutorials/view/163030-relative-strength-index-rsi/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น